รับชมวิดีทัศน์ "แนวคิดและกระบวนการพัฒนาเยาวชนจังหวัดตาก" :
ความเชี่ยวชาญ/เทคนิคเด่นในการสร้างการเรียนรู้ผ่าน PBL :
- มีทักษะในการทำงานกับชุมชน
- สามารถเชื่อมโยง ผู้เชี่ยวชาญประเด็นสำคัญมาให้ความรู้เพิ่มเติมแก่เยาวชนและพี่เลี้ยงได้
- มีทักษะการตั้งคำถามชวนคิดวิเคราะห์ และสามารถใช้พลังแห่งถ้อยคำพูดสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชนได้
- มีความรู้และความเข้าใจสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่ สามารถให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับเยาวชนได้
- มีทักษะในการสื่อสาร สามารถวางแผนกลยุทธ์ในการสื่อสารได้
- มีเทคนิคในการโคช และออกแบบการเรียนรู้ รวมถึงความรู้ใหม่ ๆ ที่เหมาะสมให้กับพี่เลี้ยงชุมชน/ครูชุมชน และเยาวชนได้
ประวัติการศึกษา :
ระดับการศึกษา | วุฒิที่ได้รับ | สถาบันการศึกษา | ปี | ความรู้/ทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการทำโครงการ |
ปริญญาเอก | ปร.ด. (ชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | 2562 | ด้านกระบวนการวิจัย |
ปริญญาโท | M. Sc. in Applied Ecology | University of East Anglia, Norwich, UK | 2553 | |
ประกาศนียบัตร | ประกาศนียบัตรบัณฑิต (วิชาชีพครู) | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | 2551 | |
ปริญญาตรี | วท.บ. (ชีววิทยา) | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | 2550 |
ประสบการณ์การทำงานพัฒนาเยาวชน/งานพัฒนาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง :
หน่วยงาน | ชื่อโครงการ/กิจกรรม | ช่วงปีพ.ศ. | บทบาทหน้าที่ | ลักษณะงานที่ทำ |
มูลนิธิช่วยเหลือเด็กชายแดนจังหวัดตาก ร่วมกับวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจาก มูลนิธิหมู่บ้านเด็กเพสตาล๊อตซี่ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ | โครงการพลังร่วมชุมชนชายแดนไทย-เมียนมา จังหวัดตาก ในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (SEEDS) เพื่อพัฒนาการศึกษาพื้นที่ 10 ชุมชน โรงเรียนและห้องเรียนสาขาจำนวน 9 แห่ง และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง | 2560-2563 | ที่ปรึกษาโครงการ | วางแผนการทำงานโครงการ การออกเป็นการบูรณาหลักสูตรแกนกลางร่วมกับหลักสูตรท้องถิ่น ติดตามการทำงานของโครงการในพื้นที่เป้าหมาย |