รับชมวิดีทัศน์ "แนวคิดและกระบวนการพัฒนาเยาวชนจังหวัดตรัง" :
ความเชี่ยวชาญ/เทคนิคเด่นในการสร้างการเรียนรู้ผ่าน PBL :
- มีทักษะในการทำงานกับชุมชน
- มีทักษะการตั้งคำถามชวนคิดวิเคราะห์ และสามารถใช้พลังแห่งถ้อยคำพูดสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชนได้
- มีความรู้และความเข้าใจสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่ สามารถให้ความรู้เพิ่มเติมให้กับเยาวชนได้
- มีเทคนิคในการโคช และออกแบบการเรียนรู้ รวมถึงความรู้ใหม่ ๆ ที่เหมาะสมให้กับพี่เลี้ยงชุมชน/ครูชุมชน และเยาวชนได้
- มีทักษะในการบริหารจัดการ สามารถชวนเยาวชนวางแผนในการบริหารจัดการโครงการได้
บทบาทและความรับผิดชอบในโครงการ :
- ติดต่อประสานงานโครงการ
- จัดกระบวนการเรียนรู้/สนับสนุน
- จัดทำรายงานและเอกสารการเงิน
- เป็นที่ปรึกษาพี่เลี้ยงชุมชนและเยาวชน
- สร้างเครือข่ายพี่เลี้ยงชุมชนและเยาวชนในจังหวัดตรัง
ประวัติการศึกษา :
ระดับการศึกษา | วุฒิที่ได้รับ | สถาบันการศึกษา | ปี | ความรู้/ทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อการทำโครงการ |
ปริญญาตรี | ศิลปศาสตร์บัณฑิต | เอกสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | พ.ศ.2550 | 1. การคิดแบบองค์รวม (holistic thinking) 2. แนวคิด/ทฤษฎีทางสังคม 3. การทำงานกับชุมชน 4. การเก็บข้อมูล/การสัมภาษณ์ 5. การทำงานวิจัย |
ประสบการณ์การทำงาน :
หน่วยงาน | ชื่อโครงการ/กิจกรรม | ช่วงปีพ.ศ. | บทบาทหน้าที่ | ลักษณะงานที่ทำ |
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม | โครงการยุติธรรมชุมชน | พ.ศ.2551-2555 | ผู้ช่วยนักวิจัย | 1. ติดต่อประสานงานโครงการ 2. จัดกระบวนการ 3. จัดทำรายงานและเอกสารการเงิน 4. สร้างเครือข่ายยุติธรรมชุมชน |
ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดตรัง (สกสว.ตรัง) | ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดตรัง (สกสว.ตรัง) | พ.ศ.2558-ปัจจุบัน | ผู้ช่วยผู้ประสานงาน | 1. ติดต่อประสานงานโครงการ 2. จัดกระบวนการ 3. จัดทำรายงานและเอกสารการเงิน 4. สร้างเครือข่ายนักวิจัยจังหวัดตรัง |
กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ | โครงการนิทานสานรัก | ก.ย.2562-ก.ย.2563 | หัวหน้าโครงการ | 1. ติดต่อประสานงานโครงการ 2. จัดกระบวนการ 3. จัดทำรายงานและเอกสารการเงิน 4. สร้างเครือข่ายเยาวชน 5. จัดทำสื่อนิทานและเผยแพร่ผลงาน |