
"โครงการพัฒนาเยาวชนโดยการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" มูล นิธิสยามกัมมาจล มีเป้าหมายสนับสนุนให้สถานศึกษาพอเพียงที่มีศักยภาพพัฒนาตนเป็นศูนย์การ เรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา จำนวน 84 แห่ง เพื่อเป็นแบบอย่างและเป็นแกนนำ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่โรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการ รวม 140 โรงเรียน จึงได้จัดตลาดนัดความรู้ "เครือข่ายเรียนรู้สู่ความพอเพียง" ครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยหลัก "เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา" โดย ผู้ขับเคลื่อนต้องเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้ เข้าถึง ด้วยการลงมือปฏิบัติ (เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ ผู้บริหารใช้ในการบริหารจัดการ/ ครูใช้ในการจัดการเรียนรู้/ นักเรียนใช้เรียนในชีวิตประจำวัน)
และนำเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
- เพื่อ ให้โรงเรียนที่สมัครเข้าร่วมโครงการรับทราบบทบาทหน้าที่เกิดแรงบันดาลใจ และร่วมกันวางแผนพัฒนาตนเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงด้านการศึกษาไปพร้อมๆ กับโรงเรียนเครือข่ายในภูมิภาค
- เปิด โอกาสให้โรงเรียนที่สมัครเข้ามาร่วมโครงการจำนวน 140 โรงเรียนได้มาเติมความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความสำเร็จในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
- ผู้บริหาร (การใช้เศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการ)
- ครู (การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู้)
- นักเรียน (การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน) -
โรงเรียน ศูนย์ขยายผลของมูลนิธิมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการขยายผลเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงเครือข่ายการเรียนรู้ของคณะผู้บริหาร ครู และนักเรียนแกนนำ ทั้งในระดับภูมิภาคและระหว่างภูมิภาค รวบรวม ประมวลองค์ความรู้ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละโรงเรียน
โดย รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผศ.ดร.อารี หลวงนา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ดร.จารีรัตน์ ปรกแก้ว คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ ดร.จิติมา วรรณศรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
โดย คุณปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร
โดย ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ห้องที่ (1) ตัวอย่างจากโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย และแม่พริกวิทยา
ห้องที่ (2) ตัวอย่างจากโรงเรียนบ้านหนองไผ่ กาญจนาภิเษก เพชรบูรณ์ และห้วยยอด
ห้องที่ (3) ตัวอย่างจากโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี และสตรีมารดาพิทักษ์
ตัวอย่างจากโรงเรียนโยธินบูรณะ และลาซาลจันทบุรี (มารดาพิทักษ์)
ห้องที่ (4) ตัวอย่างจากโรงเรียนกัลยาณวัตร โพนทองวิทยายน และเชียงขวัญพิทยาคม
ห้องที่ (5 ตัวอย่างจากโรงเรียนสำโรงทาบ และศีขรภูมิพิสัย
โดย รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์
ดำเนินรายการโดย ผศ.ดร.เลขา ปิยะอัจฉริยะ
โดย ศ.นพ. วิจารณ์ พานิช