โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ (University Network For Change : UNC)
โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ (University Network For Change : UNC)
กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
Workshop ครั้งที่ 1 : เรียนรู้โจทย์สังคม-เติมทักษะการสร้างสรรค์สื่อ
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

Workshop ครั้งที่ 1 : เรียนรู้โจทย์สังคม-เติมทักษะการสร้างสรรค์สื่อ

โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่

วันที่ 27-28 กุมภาพันธ์ 2559

ณ. โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพมหานคร

กำหนดการและรายงานผล
27
กุมภาพันธ์
2016
รายละเอียดกิจกรรม
08.00 - 08.30 น.
ลงทะเบียน
08.30 - 09.00 น.
กิจกรรมรู้จักกัน, Check ความคาดหวัง
09.00 - 09.30 น.
กล่าวต้อนรับและชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินโครงการ
โดย ผศ.สรรเสริญ มิลินทสูต ประธานเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม
09.30 - 10.30 น.
แบ่งกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม
กลุ่ม 1 ทรัพยากร : วิกฤติน้ำของประเทศไทยและทางออก
โดย ดร.รอยล จิตรดอน
ผู้อำนวยการ สถาบันสารสนเทศ ทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
กลุ่ม 2 การเรียนรู้ : ทักษะของคนรุ่นใหม่ที่สังคมไทยต้องการ
โดย คุณวิมลศรี ศุษิลวรณ์
โรงเรียนเพลินพัฒนา
10.45 - 12.00 น.
กลุ่ม 1 ทรัพยากร : วิกฤติป่าน่าน
โดย คุณณรงค์ อภิชัย ผู้อำนวยการฝ่าย
ปฏิบัติการภาคสนาม มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง
13.00 - 14.20 น.
การอนุรักษ์ “ผืนป่าตะวันตก” ป่าผืนใหญ่แห่งสุดท้ายของประเทศ
โดย อ. ศศิน เฉลิมลาภ ประธานมูลนิธิ
สืบนาคะเสถียร
การเรียนรู้ Active Play
โดย ดร.เกษม นครเขตต์ ผู้อำนวยการ ศูนย์วิจัย
กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ (สสส.)
15.30 - 16.00 น.
กลุ่มย่อย (ต่อเนื่อง)
• นักศึกษาเตรียมนำเสนอประเด็นในการสื่อสารและวางแผนการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม/ การลงพื้นที่
16.00 - 18.00 น.
กลุ่ม 1 ทรัพยากร
• นักศึกษานำเสนอประเด็นการสื่อสารและแผนการทำงาน (กลุ่มละ 5 นาที)
• วิทยากรให้ข้อเสนอแนะ (กลุ่มละ 3 นาที)
กลุ่ม 2 การเรียนรู้

• นักศึกษานำเสนอประเด็นการสื่อสารและแผนการทำงาน (กลุ่มละ 5 นาที)
• วิทยากรให้ข้อเสนอแนะ (กลุ่มละ 3 นาที)
28
กุมภาพันธ์
2016
รายละเอียดกิจกรรม
08.30 - 09.00 น.
ลงทะเบียน
09.00 - 09.15 น.
ห้องประชุมใหญ่ (นักศึกษา)

Check in และแนะนำวิทยากร
09.15 - 09.30 น.
ห้องประชุมเล็ก (อาจารย์)

เวทีถอดบทเรียน ช่วงที่ 1
โดย ทีมจากมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น
09.30 - 10.30 น.
ห้องประชุมใหญ่ (นักศึกษา)

“Data not information”
โดย อาจารย์สันติ ลอรัชวี
นักออกแบบกราฟิกจาก Practical Studio
10.45 - 12.00 น.
ห้องประชุมใหญ่ (นักศึกษา)

“How to analysis” และการหาข้อมูล
โดย อาจารย์สันติ ลอรัชวี
นักออกแบบกราฟิกจาก Practical
ห้องประชุมเล็ก (อาจารย์)

เวทีถอดบทเรียน ช่วงที่ 2
โดย ทีมจากมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น
13.00 - 15.00 น.
ห้องประชุมใหญ่ (นักศึกษา)

เรียนรู้เรื่องการบูรณาการสื่อสาร : สัญลักษณ์และยุทธศาสตร์การสื่อสาร
โดย คุณไตรสิทธิ์ อารีย์วงศ์
Film Director บริษัท วิ้งค์ วิ้งค์ โปรดักชั่น จำกัด
ห้องประชุมเล็ก (อาจารย์)

เวทีถอดบทเรียน ช่วงที่ 3
โดย ทีมจากมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น
15.15 - 16.00 น.
สะท้อนการเรียนรู้ (After Action Review : AAR)
16.00 น.
นัดหมายครั้งต่อไป / ปิดการประชุม