โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ (University Network For Change : UNC)
โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ (University Network For Change : UNC)
กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
UNC4 เวทีนำเสนอผลงาน และนิทรรศการแสดงผลงาน “(ไทย) ทีนสปิริต”
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

เวทีนำเสนอผลงาน และนิทรรศการแสดงผลงาน “(ไทย) ทีนสปิริต”
โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่
(University Network for Change : UNC)
วันที่ 2 พฤษภาคม 2560
เวทีนำเสนอผลงาน ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

นิทรรศการออนไลน์

กำหนดการและรายงานผล
02
พฤษภาคม
2017
รายละเอียด
10.00 - 10.30 น.
ลงทะเบียนภาคเช้า
10.30 - 10.40 น.
เปิดการประชุม โดย คุณปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร ผู้จัดการมูลนิธิสยามกัมมาจล
10.40 - 10.50 น.
นำเสนอภาพรวมการดำเนินงานโครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม เพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ (UNC) ปีที่ 4 โดย ผศ.อาวิน อินทรังษี ประธานเครือข่าย
10.50 - 11.30 น.
สะท้อนบทเรียนการเชื่อมโยงกิจกรรมโครงการ UNC เข้าสู่ห้องเรียน
โดย อาจารย์ที่ปรึกษาจาก 11 มหาวิทยาลัย * (คนละประมาณ 3 นาที)
11.30 - 12.00 น.
“โอกาสในการต่อยอดโครงการมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคมสู่การจัดการเรียนการสอนในรายวิชา หรือหลักสูตร” ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น/เติมคุณค่า โดย ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้แทนองค์กรภาคีสนับสนุน และภาคีภาคประสังคม
12.00 - 12.10 น.
สรุปและปิดการประชุม
12.10 - 13.00 น.
ลงทะเบียน (สื่อมวลชน และผู้ลงทะเบียนร่วมงานชมนิทรรศการ “(ไทย) ทีนสปิริต” ณ โถงนิทรรศการ ชั้น 1
13.00 - 13.25 น.
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนองค์กรสนับสนุน ภาคีภาคประชาสังคม ผู้บริหารมหาวิทยาลัย เดินทางถึงสถานที่จัดงาน ประธานเครือข่าย UNC นำชมนิทรรศการผลงาน “(ไทย) ทีนสปิริต” ณ โถงนิทรรศการ ชั้น 1
13.25 - 13.30 น.
เตรียมพร้อมเข้าสู่พิธีเปิดเวทีนำเสนอผลงานสร้างสรรค์สื่อ โครงการเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคมเพื่อประเทศไทยที่น่าอยู่ ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5
13.30 - 13.40 น.
กล่าวรายงานผลการดำเนินงานโครงการ UNC ปีที่ 4
โดย ผศ.อาวิน อินทรังษี ประธานเครือข่ายมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์สังคม (UNC)
13.40 - 13.45 น.
ชมวีดิทัศน์นำเสนอผลการดำเนินโครงการ UNC ปีที่ 4
13.45 - 14.00 น.
สะท้อนมุมมองต่อการขับเคลื่อนโครงการ UNC และแนวทางการสนับสนุน พร้อมมอบโล่เกียรติคุณให้มหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ
โดย คุณปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร ผู้จัดการมูลนิธิสยามกัมมาจล และ
ดร.นพ.ไพโรจน์ เสาน่วม ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมวิถึชีวิตสุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
14.00 - 14.10 น.
ถ่ายภาพร่วมกัน
14.10 - 14.20 น.
การนำเสนอผลงานสื่อสร้างสรรค์สังคมของนักศึกษา จาก 14 คณะ 11 มหาวิทยาลัย
- แนะนำกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
- กรรมการด้านสังคม
• ประเด็นความเหลื่อมล้ำและความเท่าเทียม
- คุณทองพูล บัวศรี : มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก
- คุณสุริยา สมสีลา : มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ
• ประเด็นสิ่งแวดล้อม
- คุณวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ : มูลนิธิชีววิถี (Biothai)
- คุณปรกชล อู๋ทรัพย์ : ผู้ประสานงานเครือข่ายเตือนภัยสารเคมีกำจัดศัตรูพืช Thai – PAN
• ประเด็นสุขภาพและโภชนาการ
- อาจารย์กรรณิการ์ บรรเทิงจิตร : ผู้จัดการโครงการสนับสนุนการพัฒนานโยบายสาธารณะรองรับสังคมสูงวัย
- คุณนงลักษณ์ ยอดมงคล : สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
• ประเด็นความรุนแรงในสังคม
- คุณบัณฑิต แป้นวิเศษ : มูลนิธิเพื่อนหญิง
- คุณสุวรา แก้วนุ้ย : เครือข่าย deep south watch : ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
• ประเด็นสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
- คุณสุรเสกข์ ยุทธิวัฒน์ : เจ้าของเพจ Toolmorrow
- อาจารย์นภสร ลิ้มไชยาวัฒน์ : ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อสารคดีรายการโทรทัศน์และกิจกรรมทางสังคม
(อาจารย์ประจำคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์)
กรรมการด้านการศิลปะการออก แบบสื่อ และการสื่อสาร
- คุณไพโรจน์ ธีระประภา
ศิลปินรางวัล “ศิลปาธร” สาขาเรขศิลป์ ปี 2557
- คุณรัฐ จำปามูล
บริษัท สปุตนิค เทลส์ จำกัด
14.20 - 16.25 น.
นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษา นำเสนอผลงาน สร้างสรรค์สื่อ (สาขาวิชาละ 3 นาที)

• ประเด็นกลุ่ม : ความเหลื่อมล้ำและความเท่าเทียม
กลุ่มนักศึกษานำเสนองาน
1.คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : เด็กเร่ร่อน – Reasons of the Raerons เรื่องนี้มีเหตุผล
2.คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต : ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา – เรียนพิเศษ / ครูอยู่ไหน / เส้นใหญ่
3.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร : เด็กเร่ร่อน – SIXX / Give More / Free Box / แผนที่นำสุข / Children Bridge / Blend Project / Invisible Boy
4.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาภาพยนตร์และดิจิทัลมีเดีย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง : คนพิการ "Bridger"
5.คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร : เด็กเร่ร่อน – Hobo’s Diary / รักเร่/ TEXTS เร่ร่อน
6.คณะศิลปกรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : การศึกษาชนบท
กรรมการเติมเต็มคุณค่า (10 นาที)
• ประเด็นกลุ่ม : ประเด็นกลุ่ม : สิ่งแวดล้อม
กลุ่มนักศึกษานำเสนองาน
7.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ – นานาชาติ (CommDe : Communication Design) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ปัญหาสารเคมีตกค้าง "พินิจพิษผัก"
8.คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา : การเสื่อมโทรมของน้ำทะเล จากน้ำมือมนุษย์และธรรมชาติ – Our Sea
9.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-ผังเมือง-นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : การทำเกษตรอินทรีย์ – ข้าว In 3
10.คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร์ วิชาเอกการโฆษณา มหาวิทยาลัยศิลปากร : การทำนาอินทรีย์ – Red Hot Organic Farmer
11.คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ : โครงการการท่องเที่ยวของเราทำร้ายธรรมชาติอย่างไร – เสม็ด Let’s Fun
กรรมการเติมเต็มคุณค่า (10 นาที)
• ประเด็นกลุ่ม : ความรุนแรงในสังคม
กลุ่มนักศึกษานำเสนองาน
12.คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ : ความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับผู้หญิง - The Power of LaLa / THE THIRD HAND
13.คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต : HATE SPEECH ความรุนแรง (ด้านคำพูด) – Leave/ This is Tud./ สเปกตรัม
14.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาภาพยนตร์และดิจิทัลมีเดีย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง : 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ “HAPPY – BIRD – DAY สุขสันต์วันกลับคืน”
15.คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี : ความรุนแรงทางคำพูด - โครงการ "หยุดตรวจ"
16.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิจิตรศิลป์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง : ความรุนแรงในครอบครัว “First Love”
กรรมการเติมเต็มคุณค่า (10 นาที)
• ประเด็นกลุ่ม : สุขภาวะและโภชนาการ
กลุ่มนักศึกษานำเสนองาน
17.คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิชานิเทศศาสตร์ วิชาเอกวิทยุและโทรทัศน์ : สุขภาวะในผู้สูงวัย - #wewillgrowoldtogether
18.คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : Why I So I Serioue "ความเครียดแก้ได้"
กรรมการเติมเต็มคุณค่า (10 นาที)
• ประเด็นกลุ่ม : สื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์
กลุ่มนักศึกษานำเสนองาน
19.คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร : ความรุนแรงในสื่อ Cyber Bullying - Cyberbullet
20.คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ : อาชญากรรมออนไลน์
21.คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ : การใช้โซเชียลอย่างมีสติ “Fact or Fake” – ทีม Boomsharang
22.คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต : Cyberbullying การใช้เทคโนโลยีในการกลั่นแกล้งหรือล่อลวงคนใน โลกออนไลน์ - Bully
กรรมการเติมเต็มคุณค่า (10 นาที)
16.25 - 16.45 น.
มอบของที่ระลึกให้กับกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และกล่าวปิดงานนำเสนอผลงานโครงการโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภกรณ์ ดิษฐพันธุ์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประธานสภาคณบดีทางศิลปะแห่งประเทศไทย
16.45 - 17.00 น.
อาจารย์และนักศึกษาถ่ายภาพหมู่ร่วมกัน บริเวณพื้นที่จัดนิทรรศการ
17.00 น.
หมายเหตุ : นิทรรศการเปิดให้ชมวันที่ 2 – 7 พฤษภาคม 2560 เวลา 10.00 - 21.00 น.
"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ