กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
นิทานพื้นบ้านสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

จัดทำโดย

โครงงานนิทานพื้นบ้านสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย

เด็กหญิงอรไพลิน ร่มเย็น ชั้น ม. 1/8

เด็กหญิงอรทัย ไชยช่วย ชั้น ม. 1/8

เด็กหญิงสุภาวรรณ สังข์โชติ ชั้น ม. 1/8

เด็กหญิงสุวนันท์ สังข์สุวรรณ ชั้น ม. 1/8

ครูที่ปรึกษาโครงงาน นางสุนีย์ รักษ์สุวรรณ

โครงงานนิทานพื้นบ้านสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย เป็นโครงงานในรายวิชา ท 21101 ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555

ครูที่ปรึกษาโรงงาน นางสุนีย์ รักษ์สุวรรณ

­

­

­

ที่มาและความสำคัญ

จากการเรียนวิชา ท 21101 ภาษาไทย เรื่องนิทานพื้นบ้าน ไดเรียนรู้นิทานพื้นบ้านภาคต่าง ๆ ทั้ง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคใต้ ครูผู้สอนได้เล่านิทานเรื่องสังข์ทองให้ฟัง จึงมีความสงสัยว่าในท้องถิ่นของเราน่าจะมีนิทานพื้นบ้านด้วย จึงได้ศึกษาค้นคว้าโดยไปสืบค้นจากปราชญ์ชาวบ้านคือ อาจารย์ทวี แก้วอุดม แล้วนำมาจัดทำเป็นโครงงาน นิทานพื้นบ้านสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย

­

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

เพื่อทราบประวัติความเป็นมาของท้องถิ่นของผู้จัดทำ

เพื่อสืบสานมรดกวัฒนธรรมความเป็นไทย

­

วิธีการศึกษา

นักเรียนศึกษานิทานพื้นบ้านภาคต่าง ๆ จากหนังสือวรรณคดีวิจักษ์ ชั้น ม. 1

สืบค้นนิทานพื้นบ้านของตนเอง

บันทึกเนื้อเรื่องและความเป็นมา

นำเรื่องมาจัดทำเป็นหนังสือนิทาน

ทำรายงาน

นำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน

อุปกรณ์การศึกษา

หนังสือเรียนวรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องนิทานพื้นบ้าน

กระดาษ 100 ปอนด์ ขนาดเอ 4

ปากกา

ดินสอ

สี

ยางลบ

­

สรุปผล

ได้ทราบความเป็นมาของหมู่บ้านคลองโสม

­

ข้อเสนอแนะ

เด็ก ๆ สมัยนี้ควรหันมาศึกษาประวัติความเป็นมาของท้องถิ่นของตน

­

ฐานการเรียนรู้

ฐานเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย ประกอบด้วยโครงงาน 3 โครงงานคือ

นิทานพื้นบ้านสืบมรดกวัฒนธรรมไทย

ครูที่ปรึกษา นางสุนีย์ รักษ์สุวรรณ

อ่านคล่อง เขียนคล่องสนองพระราชดำรัส

ครูที่ปรึกษา นางสาวจันทร์จิรา เพ็งแตง

นิทานพื้นบ้านบนพื้นฐานความพอเพียง

ครูที่ปรึกษา นางอำพร จุตติ

­

คลังความรู้

นิทานพื้นบ้านสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย

ปราชญ์ชาวบ้านคือ นายทวี แก้วอุดม

กำหนดการและรายงานผล
ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม
"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ