กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
ประชุมแกนนำและสมาชิกในชมรมต้นคิด
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

กิจกรรม ในครั้งนี้สมาชิกชมรมต้นคิดทราบแผนการปฏิบัติงานทั้งหมดของโครงการ และทราบประเด็นที่จะลงพื้นที่ศึกษาในย่านชุมชนเมืองเก่า คือ 1.ด้านอาคาร 2.วิถีชีวิติ 3.สภาพแวดล้อม 4.อาหารสมาชิกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คนในการลงพื้นที่เพื่อศึกษาประวัติศาตร์ชุมชนตามประเด็น และแบบสอบถามในการลงพื้นที่

- เพื่อชี้แจงการปฏิบัติงาน แบ่งกลุ่มในการลงพื้นที่  และแบ่งบทบาทหน้าที่

- ทำแบบสอบถามในการลงพื้นที่ศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนซึ่งใช้เป็นข้อมูลในการสัมภาษณ์


กำหนดการและรายงานผล
ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลกิจกรรม/บันทึกการทำงาน

1.ชื่อกิจกรรม  ประชุมแกนนำและสมาชิกในชมรมต้นคิด


2.วันที่  13  ธันวาคม  2555


3.ผู้รับผิดชอบ  แกนนำโครงการและสมาชิกในชมรมต้นคิด


4.ประเภทกิจกรรม

ประชุม

 

5.การปรับเปลี่ยนกิจกรรม

-


6.กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

เจ้าหน้าที่โครงการ

หน่วยงานรัฐ

หน่วยงานเอกชน

ผู้ปกครอง

เด็กและเยาวชน

อื่นๆ

รวม

จำนวน

26

-

-

-

-

-

26


7.สถานที่จัดกิจกรรม 

โรงเรียนมหาวชิราวุธจังหวัดสงขลา ห้อง Creative Center


8.วัตถุประสงค์        

- เพื่อชี้แจงการปฏิบัติงาน แบ่งกลุ่มในการลงพื้นที่  และแบ่งบทบาทหน้าที่

- ทำแบบสอบถามในการลงพื้นที่ศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนซึ่งใช้เป็นข้อมูลในการสัมภาษณ์


9.ผลที่ได้รับ

กิจกรรมในครั้งนี้สมาชิกชมรมต้นคิดทราบแผนการปฏิบัติงานทั้งหมดของโครงการ และทราบประเด็นที่จะลงพื้นที่ศึกษาในย่านชุมชนเมืองเก่า คือ 1.ด้านอาคาร 2.วิถีชีวิติ 3.สภาพแวดล้อม 4.อาหารสมาชิกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คนในการลงพื้นที่เพื่อศึกษาประวัติศาตร์ชุมชนตามประเด็น และแบบสอบถามในการลงพื้นที่


แบ่งหน้าที่ของสมาชิกแต่ละคนได้ดังนี้

·  นางสาวธัญศิริ  ลิ่มสถาพร  หน้าที่ที่ปรึกษา

·  นางสาววทันยา  มุนินโท  หน้าที่ที่ปรึกษา

·  นางสาวปิญชาน์  ทองเจือเพชร  หน้าที่สรุปกิจกรรม

·  นางสาวพิมพ์ชนก  พงษ์กาญจน์  หน้าที่การเงินเหรัญญิก

·  กลุ่มที่ 1 ลงพื้นที่ศึกษาสภาพแวดล้อม มีสมาชิก 4 คน คือ

-  นายณภัทร  รอดดำ  หน้าที่ตากล้องถ่ายภาพ

-  เด็กชายปรัชญา  เหล็กหมาด  หน้าที่ตากล้องถ่ายวีดีโอ

-  นางสาวฐาปนี  เอกจ่าย  หน้าที่สัมภาษณ์

-  นางสาวพิชญาพร  ทองด้วง  หน้าที่บันทึกข้อมูล

·  กลุ่มที่ 2 ลงพื้นที่ศึกษาอาหาร มีสมาชิก 4 คน คือ

-   ด.ญ.พิชชาภา  แก้วหนู สัมภาษณ์

-  นางสาวมานิตา  อัศวอารี หน้าที่ตากล้องถ่ายภาพ

-  นางสาวจิตราภร    อ๋องสกุล หน้าที่ตากล้องถ่ายวีดีโอ

-  นางสาวสุธัญญา   คชเสน  หน้าที่สัมภาษณ์

-  ด.ญ.เบญญภา พูลยรัตน์  หน้าที่บันทึกข้อมูล

·  กลุ่มที่ 3 ลงพื้นที่ศึกษาอาคาร มีสมาชิก 4 คน คือ

-  นางสาวธนภรณ์  นาถพันธ์  หน้าที่ตากล้องถ่ายภาพ

-  นายภานุพงศ์  สว่างวารี  หน้าที่ตากล้องถ่ายวีดีโอ

-  นางสาวสิมิลัน  สัจจาพันธ์  หน้าที่สัมภาษณ์

-  นายธนกฤต  โสเจยยะ  หน้าที่บันทึกข้อมูล

·  กลุ่มที่ 4 ลงพื้นที่ศึกษาวิถีชีวิต มีสมาชิก 4 คน คือ

-  ด.ช.ธีรภัทร สุวรรณโณ  หน้าที่ตากล้องถ่ายภาพ

-  ด.ช.ฟาอิศ  จินเดหวา    หน้าที่ตากล้องถ่ายวีดีโอ

-  ด.ญ.กุลสินี  บำรุงศักดิ์    หน้าที่สัมภาษณ์

-  ด.ญ.ปรีดิยุช  วณิชชานนท์    หน้าที่บันทึกข้อมูล


แต่ละกลุ่มได้คิดแบบสอบถามเพื่อใช้ในการสัมภาษณ์ได้ดังนี้

·  กลุ่มที่ 1 ลงพื้นที่ศึกษาสภาพแวดล้อม

ด้านลบ
-ปัญหาขยะในเมืองเก่า
-การจราจรติดขัด
-หมาในย่านนั้นอุจจาระไม่เป็นที่/ควรแก้ยังไง
-เสียงเรือประมงในยามค่ำคืนซึง่เป็นเสียงรบกวน
-ชุมชนแออัดมากเกินไป
-ภายในบริเวณเมืองเก่าไม่ค่อยมีต้นไม้(มีอยู่น้อย)

ด้านบวก
-สภาพเมืองสถานที่สิ่งแวดล้อมต่างๆในเมือง
-สถาปัตยกรรมที่สวยงามเป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีของชุมชน
-การดำเนินชีวิตที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อม

คำถาม
1.สิ่งแวดล้อมในอดีต+ปัจจุบันเป็นอย่างไร
2.สิ่งที่ควรแก้ไขเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
3.สิ่งที่อยากให้มีเพิ่มเติมในเมืองเก่า
4.ภูมิใจสิ่งแวดล้อมอะไรบ้าง/แบบไหน
5.อยากฝากอะไรให้คนรุ่นหลัง
5.คิดยังยังกับสิ่งแวดล้อมในอนาคต


·  กลุ่มที่ 2 ลงพื้นที่ศึกษาอาหาร

-เริ่มเปิดร้านตั้งแต่เมื่อไหร่  ?

-การซื้อการขายในอดีตกับปัจจุบันตอนไหนขายรายได้ได้ดีกว่า ?

-เคยคิดที่อยากจะปรับปรุงสูตรบ้างหรือไม่ ?

-ทำไมถึงยังอยากขายของอยู่ที่นี้ ?

-หลักการในการสร้างจุดเด่นให้กับเราของร้านตนเอง ?

-ปัญหาอะไรบ้างที่พบในปัจจุบัน ?

-อยากให้มีลูกหลานสืบทอดในการขายของร้านตนเองหรือไม่ ?


·  กลุ่มที่ 3 ลงพื้นที่ศึกษาอาคาร

- อายุของอาคารบ้านเรือนหรืออยู่มากี่ปี (ข้อมูลด้านประสบการณ์การคลุกคลีอยู่กับถนนสายดังกล่าว เพราะจากที่สำรวจมีบางส่วนย้ายมาจากที่อื่นทำให้ไม่สามารถรับรู้ข้อมูลหรอ ประวัติศาสตร์ดั้งเดิมได้)

- การปรับปรุงซ่อมแซม (ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและอาคาร เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงว่ามากหรือน้อยจากดั้งเดิม)

- ถ้าเลือกได้อยากอยู่ที่นี้หรือย้ายไปที่อื่นหรือที่นี้ดีอย่างไร (ข้อมูลเกี่ยวกับความผูกพันกับสถานที่)

- อยากจะอนุรักษ์บ้านแบบนี้ไว้หรือไม่ (ข้อมูลเกี่ยวกับแง่คิดเชิงอนุรักษ์)


·  กลุ่มที่ 4 ลงพื้นที่ศึกษาวิถีชีวิต

- ความเป็นอยู่ในอดีตเป็นอย่างไร

- ผู้คนส่วนใหญ่ทำอาชีพอะไร

- ปัจจุบันอาชีพที่ทำมีความสะดวกขึ้นหรือไม่

- ชุมชนนี้มีอะไรที่แตกต่างจากชุมชนอื่น

- อยากให้ชุมชนนี้เป็นอย่างไร

- ทำไมถึงยังคงวิถีชีวิตแบบนี้ไว้


10.งบประมาณ (ใช้จ่ายตามจริง)

  -


11.ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

- เวลาในการประชุมไม่เพียงพอทำให้การทำงานดำเนินได้ช้า


"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ