โครงการสนับสนุนกระบวนการประเมินเชิงพัฒนา (DE) และชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC)  เพื่อการขับเคลื่อนโรงเรียนพัฒนาตนเองเชิงพื้นที่ (TSQM-A) ปี 2567
โครงการสนับสนุนกระบวนการประเมินเชิงพัฒนา (DE) และชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) เพื่อการขับเคลื่อนโรงเรียนพัฒนาตนเองเชิงพื้นที่ (TSQM-A) ปี 2567
กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
เวที Social Lab และจัดทำแผนปฏิบัติกำรพัฒนำกำรศึกษาระดับจังหวัด 1 ปี ด้วยเครื่องมือ Developmental Evaluation (DE) ช่วงต้นน้ำ ภำยใต้โครงกำร TSQM-A จ.ขอนแก่น
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

เป้าหมาย : ทำแผน 1 ปี ด้วยเครื่องมือ DE


1.เกิดกลไกการทำงานร่วมกัน เพื่อรับฟังความต้องการ และสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด 1 ปี

•เพื่อให้ Core Team จังหวัดและภาคีเครือข่าย เข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดภาพอนาคต (Vision) ผลลัพธ์หลัก (KRA)

ตัวชี้วัดร่วม (KPI) เพื่อให้ได้แผนการดำเนินงาน (ACT)1 ปี

•เพื่อให้ Core Team จังหวัดมีแผนขับเคลื่อนในการดำเนินงาน และสามารถติดตามความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนได้

2. Core Team จังหวัดและ PM จังหวัด เข้าใจหลักการ และกระบวนการประเมินเชิงพัฒนา Developmental Evaluation (DE) ช่วงต้นน้ำ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการขับเคลื่อนจังหวัดและโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายได้

กำหนดการและรายงานผล
20
มิถุนายน
2024
กระบวนการวันที่ 1
08.00 - 08.45 น.
ลงทะเบียน
08.45 - 09.00 น.
พิธีกรกล่าวทักทายและพบปะผู้เข้าร่วม โดย นางศิริประภา ษรจันทร์ศรี ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
09.00 - 09.30 น.
เรียนเชิญ รองผู้ว่าราชการจังหวัดกล่าวต้อนรับ และชี้แจงวัตถุประสงค์ในการดำเนินกิจกรรมและเป้าหมายการจัดงาน
เรียนเชิญ นายกองค์กรบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ ท่านวิชิต ไตรสรณกุล กล่าวถึงแนวทางในการหนุนเสริม การขับเคลื่อนการศึกษาในจังหวัดศรีสะเกษ
เรียนเชิญ ดร.สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการ เสริมพลังผลกระทบเชิงบวกต่อการหนุนนำการศึกษาโดยพื้นที่ (ภายใต้การขับเคลื่อนโครงการ TSQM-A)
เรียนเชิญ คุณปิยาภรณ์ มัณฑะจิตร ผู้จัดการมูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) กล่าวถึงความสำคัญในการจัดเวที Social lab และ DE จังหวัดศรีสะเกษ ต่อการสร้างการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการศึกษา จ.ศรีสะเกษ
09.30 - 09.40 น.
กระบวนกรโดย นายเสนีย์ เรืองฤทธิ์ราวี และ ผศ.ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์
09.40 - 10.10 น.
Check in โดย นางสาววลีรัตน์ มิ่งศูนย์ มูลนิธิสยามกัมมาจล
10.10 - 10.30 น.
Step 1 : สร้างแรงบันดาลใจและวิเคราะห์ฐานทุน (ระดมกลุ่มใหญ่)
10.30 - 11.10 น.
Step 2 : ภาพอนาคตของจังหวัด (ระดมกลุ่มย่อย)
11.10 - 12.00 น.
นำเสนอกลุ่มใหญ่ “ฐานทุนและภาพอนาคต 10 ปีข้างหน้าของจังหวัดศรีสะเกษ” (นำเสนอกลุ่มใหญ่)
12.00 - 13.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.00 น.
Step 3 : ภาพฝันของคนรุ่นใหม่ในจังหวัด (ระดมกลุ่มย่อย)
14.00 - 14.30 น.
นำเสนอกลุ่มใหญ่ “ภาพคนรุ่นใหม่จังหวัดศรีสะเกษ” (นำเสนอกลุ่มใหญ่)
14.30 - 15.30 น.
ผู้ทรงคุณวุฒิเติมเต็ม “ฐานทุน ภาพอนาคตจังหวัดและคนรุ่นใหม่ของจังหวัดศรีสะเกษ”
15.30 - 17.00 น.
Step 4 : ภาพสถานการณ์ปัญหาของคนรุ่นใหม่ และแนวทางการสนับสนุน (ระดมกลุ่มย่อย)
17.00 น.
ปิดเวที Day 1
21
มิถุนายน
2024
กิจกรรมวันที่สอง
09.30 - 10.30 น.
Step 1 Recap ผลลัพธ์ จากเวทีวันที่ 1 ร่วมกัน (เติมเต็มร่วมกัน)

ให้ผู้เข้าร่วมแชร์กลุ่มใหญ่และรับฟังความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิ โจทย์ :
Recap ภาพอนาคตเมือง และคนรุ่นใหม่ เล่าถึงเป้าหมายและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากเวทีวันที่ 1 โดย ผอ.เสนีย์
ภาพเมือง : โดย ศน.ณชา
ภาพคนรุ่นใหม่ : โดย ศน.ศิริประภา
นำเสนอ สถานการณ์ของเด็กและเยาวชนที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ของแต่ละกลุ่มย่อย
ผู้ทรงคุณวุฒิเติมเต็มท่านละ 15 นาที
10.30 - 12.00 น.
Step 2 วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาห้องเรียนและสิ่งที่ต้องเปลี่ยน
ให้ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนในกลุ่มย่อย

โจทย์ :
1. เลือกคุณลักษณะของคนรุ่นใหม่ที่อยากเห็นในระยะ 3 ปีจากสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขึ้น (เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญและเร่งด่วน)
2. ห้องเรียนในขณะนี้ครูสอนอย่างไร ที่ส่งผลต่อสถานการณ์ปัญหาของเด็กที่เกิดขึ้น
3.สิ่งที่ห้องเรียนต้องปรับเปลี่ยน (ผอ./ครู/หลักสูตร/ชุมชน)
ให้ผู้เข้าร่วมแชร์กลุ่มใหญ่

โจทย์ : นำเสนอโจทย์ปัญหาของเด็ก ห้องเรียน และสิ่งที่ห้องเรียนต้องเปลี่ยน
13.00 - 15.00 น.
Step 3 ร่วมกำหนดภาพการเปลี่ยนแปลงที่อยากเห็น
ภาพฝันของการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มเป้าหมาย 5 กลุ่ม ในระยะ 3 ปี
เป็นอย่างไร โดยให้ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนร่วมกัน

โจทย์ :
1. โรงเรียนที่อยากเห็นเป็นอย่างไร
2. ผู้อำนวยการ จะต้องมีบทบาทหน้าที่ ทำอะไร และความสามารถอะไร
3. ครูวิชาการ จะต้องมีบทบาทหน้าที่ ทำอะไร และความสามารถอะไร
4. ครูผู้สอน จะต้องมีบทบาทหน้าที่ ทำอะไร และความสามารถอะไร
5. ผู้ปกครองและชุมชน จะต้องมีบทบาทหน้าที่ ทำอะไร และความสามารถอะไร
นำเสนอภาพฝันการการเปลี่ยนแปลง ในแต่ละด้านที่อยากเห็น

ผู้ทรงคุณวุฒิร่วมเติมเต็มและเสนอแนะ
16.00 - 17.00 น.
Step 4 กำหนดฝ่ายงานและบทบาท
ให้ผู้เข้าร่วมระดมสมองกลุ่มย่อย

โจทย์ :
1. ร่วมกันนิยามคำว่าคณะทำงานหลัก (Core Team) เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน
2. ถ้าอยากให้ห้องเรียนเป็นตามภาพฝัน Core Team จะต้องมีบทบาททำงานกี่ด้าน อะไรบ้าง ?
ให้ผู้เข้าร่วมแชร์ในกลุ่มใหญ่

โจทย์ :
ถึงการนิยามคณะทำงานหลัก (Core Team) ที่เข้าใจ และ บทบาทที่คณะทำงาน (Core Team) เพื่อทำให้การเปลี่ยนแปลง 5 ด้านเกิดขึ้นจริง
17.00 - 00.00 น.
จบงานวันที่สอง
22
มิถุนายน
2024
กิจกรรมวันที่สาม
09.15 - 09.45 น.
Step 1 Recap ผลลัพธ์จากเวทีวันที่ 2 ร่วมกัน (เติมเต็มร่วมกัน)

ให้ผู้เข้าร่วมแชร์กลุ่มใหญ่และแลกเปลี่ยนร่วมกัน โจทย์ :
Recap เล่าถึงเป้าหมายและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากเวทีวันที่ 2 โดย ผอ.เสนีย์
ภาพโรงเรียนที่อยากเห็น : โดย ศน.ณชา
บทบาทและความสามารถของผอ./ครูวิชาการ/ครูผู้สอน และ ผู้ปกครอง-ชุมชนที่อยากเห็น นำเสนอโดย
ศน.ดวงหทัย และ ผอ.ชยุดา
09.45 - 12.00 น.
Step 2 กำหนดบทบาทและออกแบบแผนการทำงาน
โจทย์กลุ่มใหญ่ : การสนับสนุนให้โรงเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงตามภาพที่อยากเห็นได้ ต้องเกิดจากการขับเคลื่อนการทำงานกี่ด้าน อย่างไร
โจทย์แลกเปลี่ยนกลุ่มย่อย (แบ่งกลุ่มตามด้านที่กำหนดร่วมกัน) :
วิเคราะห์บทบาท ภารกิจ/กิจกรรม ตัวชี้วัด และการวัดผล ของการขับเคลื่อนงานในแต่ละด้าน
บทบาทของหน่วยงานต้นสังกัดในการร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับโรงเรียนที่เราอยากเห็นให้เกิดขึ้นจริงได้อย่างไร
การสนับสนุน/ส่งเสริมหรือบทบาทจากภาคส่วนอื่นๆ ในการเข้ามาร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษาและสร้างการเปลี่ยนแปลงให้กับโรงเรียนได้อย่างไร
ให้ผู้เข้าร่วมแชร์ในกลุ่มใหญ่

โจทย์ :นำเสนอบทบาทและภารกิจของคณะทำงานในแต่ละด้าน รวมทั้งข้อเสนอบทบาทของหน่วยงานต้นสังกัด และ การสนับสนุนจากภาคส่วนอื่นๆ เพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรงเรียนที่อยากเห็นได้จริง
12.00 - 13.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14.30 น.
Step 3 นำเสนอบทบาทและแผนการดำเนินงาน
แต่ละกลุ่มย่อยนำเสนอกลุ่มใหญ่
และรับฟังคำแนะนำ/เติมเต็มจากผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้เข้าร่วมสะท้อนกาเรียนรู้ร่วมกัน
Reflection
"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ