กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ จิตตปัญญาศึกษา(Contemplative Education)
ความเป็นมา วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาระบบหลัก PLC ครู ให้ความเข้าใจในแนวทางระบบการเรียนรู้แบบ จิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education)
2. เพื่อพัฒนาสู่ผลลัพธ์ครูพัฒนาทักษะการเป็นครู สร้างต้นทุนการนำจิตตปัญญาศึกษาไปประยุกต์ใช้กับการทำโครงงาน (RBL : Research Based learning)
กำหนดการและรายงานผล
09.00 - 09.30 น.
09.30 - 09.45 น.
กิจกรรมที่ 1 : ที่มาวันนี้ ...... เรา ?
#สมัครใจ (สีเหลือง)
#เสียสละ (สีน้ำเงิน)
#โดนบังคับ (สีแดง)
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้แสดงความรู้สึกของตัวเองอย่างสื่อสัตย์ในวันนี้
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ การให้ครูได้เชื่อมโยงกลับไปสู่ห้องเรียนของตัวเองว่า ในแต่ละวันเราเคยกลับมามอง และถามความรู้สึกของนักเรียนของเราหรือไม่ว่า เขารู้สึกอย่างไร เขามีความสุข หรือทุกข์ ที่มาโรงเรียน หากเรารับรู้ถึงความรู้สึกของนักเรียน เราจะมองเห็น และเข้าไปหานักเรียนของเราได้อย่างถูกวิธี และช่วยส่งเสริม ประคับประคองเขาได้
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
#สมัครใจ (สีเหลือง)
#เสียสละ (สีน้ำเงิน)
#โดนบังคับ (สีแดง)
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้แสดงความรู้สึกของตัวเองอย่างสื่อสัตย์ในวันนี้
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ การให้ครูได้เชื่อมโยงกลับไปสู่ห้องเรียนของตัวเองว่า ในแต่ละวันเราเคยกลับมามอง และถามความรู้สึกของนักเรียนของเราหรือไม่ว่า เขารู้สึกอย่างไร เขามีความสุข หรือทุกข์ ที่มาโรงเรียน หากเรารับรู้ถึงความรู้สึกของนักเรียน เราจะมองเห็น และเข้าไปหานักเรียนของเราได้อย่างถูกวิธี และช่วยส่งเสริม ประคับประคองเขาได้
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
09.45 - 09.50 น.
กิจกรรมที่ 2 : อ่านบทความที่ตัวอักษรสลับกันมั่วซั่ว
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมรู้เป้าหมายในการมีชีวิตของตัวเอง และเป้าหมายของการเป็นครู
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ การเชื่อมโยงบทความที่สลับตัวอักษรอย่างไม่เป็นที่ทางจนไม่เป็นคำ แต่ยังสามารถอ่าน และเข้าใจความหมายได้ ซึ่งในที่นี้ กระบวนกรชี้ให้เห็นว่า ที่เราสามารถอ่านบทความนี้รู้เรื่องได้ เพราะ พยัญชนะต้น(เป้าหมาย) และพยัญท้าย (ผลลัพธ์ที่อยากจะให้เกิด) อยู่ในตำแหน่งที่ชัดเจน ทำให้ ไม่ว่า ส่วนตรงกลางที่เป็นสระ และวรรณยุกต์ (กระบวนการระหว่างทาง) จะสลับกันไปมาแค่ไหน เราก็ยังปรับให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกที่ และสามารถเข้าใจความหมายนั้นๆได้
เฉกเช่นเดียวกันกับการเป็นครู
เมื่อครูรู้เป้าหมาย บทบาทของตัวเอง และภาพเด็กที่เราอยากพัฒนาไปให้ถึงอย่างชัดเจนแล้วนั้น ต่อให้กระบวนการเราไม่ชัดเจน แต่เรายังมีหมุดหมายที่เราจะไปให้ถึง กระบวนการก็จะถูกปรับจนเข้าที่เข้าทางได้เสมอ
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมรู้เป้าหมายในการมีชีวิตของตัวเอง และเป้าหมายของการเป็นครู
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ การเชื่อมโยงบทความที่สลับตัวอักษรอย่างไม่เป็นที่ทางจนไม่เป็นคำ แต่ยังสามารถอ่าน และเข้าใจความหมายได้ ซึ่งในที่นี้ กระบวนกรชี้ให้เห็นว่า ที่เราสามารถอ่านบทความนี้รู้เรื่องได้ เพราะ พยัญชนะต้น(เป้าหมาย) และพยัญท้าย (ผลลัพธ์ที่อยากจะให้เกิด) อยู่ในตำแหน่งที่ชัดเจน ทำให้ ไม่ว่า ส่วนตรงกลางที่เป็นสระ และวรรณยุกต์ (กระบวนการระหว่างทาง) จะสลับกันไปมาแค่ไหน เราก็ยังปรับให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกที่ และสามารถเข้าใจความหมายนั้นๆได้
เฉกเช่นเดียวกันกับการเป็นครู
เมื่อครูรู้เป้าหมาย บทบาทของตัวเอง และภาพเด็กที่เราอยากพัฒนาไปให้ถึงอย่างชัดเจนแล้วนั้น ต่อให้กระบวนการเราไม่ชัดเจน แต่เรายังมีหมุดหมายที่เราจะไปให้ถึง กระบวนการก็จะถูกปรับจนเข้าที่เข้าทางได้เสมอ
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
09.50 - 10.00 น.
กิจกรรมที่ 3 : Counting
เป้าหมาย : เพื่อให้รู้จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
กระบวนการ
1. จัดกลุ่มผู้เข้าร่วมเป็น 1 วงใหญ่
2. ให้นับเลขวนตามวง โดยมีกติกาว่าถ้าใครได้นับเลขที่มี 3 หรือ 7 เป็นองค์ประกอบให้ปรบมือ 1 ครั้ง
3. ใครนับ หรือปรบมือผิด ให้เริ่มนับ 1 ใหม่ จนกว่าจะครบวง
คำถามสำคัญเมื่อกลุ่มพลาด
1. การทำภารกิจครั้งนี้เป็น งานกลุ่ม หรือ งานเดี่ยว
2. ถ้าจะทำภารกิจครั้งนี้ให้สำเร็จ เราจะต้องทำอย่างไรบ้าง
- มีสมาธิ
- พูดเสียงดัง
- มีสติ
- นับในใจตามวง
- เตือน และช่วยเหลือเพื่อนได้
- ค่อยๆไปอย่างช้าๆ
- เชื่อว่า 'เรา' ทำได้
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ กระบวนกรเชื่อมโยงว่า ภารกิจนี้จะสำเร็จได้ ต้องใช้การฟังที่ดี และฟังเพื่อนในทีมอย่างตั้งใจ
ข้อสำคัญของกระบวนการ
- ต้องเป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ไม่ตึงเครียด แต่อยู่ในกติกาที่วางไว้
- ให้โอกาสผู้เข้าร่วมได้ทำซ้ำๆ (นับเลข/ปรบมือ) เพื่อให้เกิดความชำนาญ
- ถึงแม้จะมีข้อตกลงเรื่องร่วมกันเพื่อให้ภารกิจสำเร็จ แต่เมื่อถึงสถานการณ์จริง ก็ไม่ได้ทำตามข้อตกลงร่วมนั้นได้
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
เป้าหมาย : เพื่อให้รู้จำนวนผู้เข้าร่วมอบรม
กระบวนการ
1. จัดกลุ่มผู้เข้าร่วมเป็น 1 วงใหญ่
2. ให้นับเลขวนตามวง โดยมีกติกาว่าถ้าใครได้นับเลขที่มี 3 หรือ 7 เป็นองค์ประกอบให้ปรบมือ 1 ครั้ง
3. ใครนับ หรือปรบมือผิด ให้เริ่มนับ 1 ใหม่ จนกว่าจะครบวง
คำถามสำคัญเมื่อกลุ่มพลาด
1. การทำภารกิจครั้งนี้เป็น งานกลุ่ม หรือ งานเดี่ยว
2. ถ้าจะทำภารกิจครั้งนี้ให้สำเร็จ เราจะต้องทำอย่างไรบ้าง
- มีสมาธิ
- พูดเสียงดัง
- มีสติ
- นับในใจตามวง
- เตือน และช่วยเหลือเพื่อนได้
- ค่อยๆไปอย่างช้าๆ
- เชื่อว่า 'เรา' ทำได้
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ กระบวนกรเชื่อมโยงว่า ภารกิจนี้จะสำเร็จได้ ต้องใช้การฟังที่ดี และฟังเพื่อนในทีมอย่างตั้งใจ
ข้อสำคัญของกระบวนการ
- ต้องเป็นกิจกรรมที่สนุกสนาน ไม่ตึงเครียด แต่อยู่ในกติกาที่วางไว้
- ให้โอกาสผู้เข้าร่วมได้ทำซ้ำๆ (นับเลข/ปรบมือ) เพื่อให้เกิดความชำนาญ
- ถึงแม้จะมีข้อตกลงเรื่องร่วมกันเพื่อให้ภารกิจสำเร็จ แต่เมื่อถึงสถานการณ์จริง ก็ไม่ได้ทำตามข้อตกลงร่วมนั้นได้
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
10.00 - 10.30 น.
กิจกรรมที่ 4 : Common ground
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วม ทำความรู้จักกันมากขึ้น
กระบวนการ
1. ให้ผู้เข้าร่วมบอกชื่อเล่นของตัวเอง
2. ให้ผู้เข้าร่วมบอกสิ่งที่ตัวเองชอบ (อะไรก็ได้เช่น ชอบเที่ยวทะเล ชอบทำอาหารอิสาน ชอบฟังเพลงลูกทุ่ง)
3. หากใครมีความชอบที่ตรงกับผู้ที่กำลังพูด ให้ยกมือขึ้น
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ วิทยากรเชื่อมโยงเข้าสู่ห้องเรียนว่า ถ้าเด็กได้แลกเปลี่ยนสิ่งที่ชอบ หรือสิ่งที่สามารถแบ่งปันกันได้ จะทำให้บรรยากาศการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ดี ความสัมพันธ์ก็จะดี โดยที่ครูไม่จำเป็นต้องทำอะไรมากไปกว่า การให้คำถาม และกติกา กระบวนการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเองระหว่างนักเรียน
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วม ทำความรู้จักกันมากขึ้น
กระบวนการ
1. ให้ผู้เข้าร่วมบอกชื่อเล่นของตัวเอง
2. ให้ผู้เข้าร่วมบอกสิ่งที่ตัวเองชอบ (อะไรก็ได้เช่น ชอบเที่ยวทะเล ชอบทำอาหารอิสาน ชอบฟังเพลงลูกทุ่ง)
3. หากใครมีความชอบที่ตรงกับผู้ที่กำลังพูด ให้ยกมือขึ้น
หัวใจสำคัญของกระบวนการ คือ วิทยากรเชื่อมโยงเข้าสู่ห้องเรียนว่า ถ้าเด็กได้แลกเปลี่ยนสิ่งที่ชอบ หรือสิ่งที่สามารถแบ่งปันกันได้ จะทำให้บรรยากาศการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ดี ความสัมพันธ์ก็จะดี โดยที่ครูไม่จำเป็นต้องทำอะไรมากไปกว่า การให้คำถาม และกติกา กระบวนการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเองระหว่างนักเรียน
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
10.45 - 11.30 น.
กิจกรรมที่ 5 : 8 Acts ต้อง ห้ามทำ
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมรู้ "การกระทำต้องห้ามในการรับฟัง" และต้องรู้วิธีการฟังอย่างลึกซึ้ง
กระบวนการ
1. วิทยากรแสดงบทบาทสมมุติกับครูไสว
2. เมื่อผู้เข้าร่วมเห็นว่า วิทยากรแสดงอาการที่ ไม่เหมาะสม ต่อการเป็นผู้ฟังที่ดี ให้ผู้เข้าร่วมสั่ง "คัท"
3. อธิบายข้อห้ามทั้ง 8 ของการเป็นผู้ฟังที่ดี
8 ACT ที่ห้ามทำ ในการ deep listening
1. แทรกถาม ฟังไม่ทันจบ
2. แย่งซีน
3. ไกล่เกลี่ย พูดเพื่อให้ทุกอย่างสงบ (แต่ไม่ได้สนใจสถานการณ์การฟัง เราควรไกล่เกลี่ยในจังหวะที่ควรฟัง)
4. ยุยง ยุแยง
5. วิเคราะห์
6. พูดเกทับ
7. Quick fix ด่วนแก้
8. เทศน์สอน
วิทยากรเน้นย้ำว่า อย่าทำสิ่งเหล่านี้ เมื่อยังไม่ถึงเวลา และขอให้ไม่ทำทั้งแปดอย่าง ในสองวันนี้ที่ร่วมกิจกรรม
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมรู้ "การกระทำต้องห้ามในการรับฟัง" และต้องรู้วิธีการฟังอย่างลึกซึ้ง
กระบวนการ
1. วิทยากรแสดงบทบาทสมมุติกับครูไสว
2. เมื่อผู้เข้าร่วมเห็นว่า วิทยากรแสดงอาการที่ ไม่เหมาะสม ต่อการเป็นผู้ฟังที่ดี ให้ผู้เข้าร่วมสั่ง "คัท"
3. อธิบายข้อห้ามทั้ง 8 ของการเป็นผู้ฟังที่ดี
8 ACT ที่ห้ามทำ ในการ deep listening
1. แทรกถาม ฟังไม่ทันจบ
2. แย่งซีน
3. ไกล่เกลี่ย พูดเพื่อให้ทุกอย่างสงบ (แต่ไม่ได้สนใจสถานการณ์การฟัง เราควรไกล่เกลี่ยในจังหวะที่ควรฟัง)
4. ยุยง ยุแยง
5. วิเคราะห์
6. พูดเกทับ
7. Quick fix ด่วนแก้
8. เทศน์สอน
วิทยากรเน้นย้ำว่า อย่าทำสิ่งเหล่านี้ เมื่อยังไม่ถึงเวลา และขอให้ไม่ทำทั้งแปดอย่าง ในสองวันนี้ที่ร่วมกิจกรรม
-----------------------------------------------
ครูกระบวนกรเพื่อศิษย์แห่งศตวรรษที่ 21 (Active Dialogue Workshop)
โดย อ.คงวุฒิ นิรันตสุข
มูลนิธิปัญญาวุฒิ
11.30 - 12.15 น.
กิจกรรมที่ 6 : การฟังอย่างใคร่ครวญ
เป้าหมาย : ผู้เข้าร่วมเข้าใจ และ ได้ฝึก "ฟังอย่างใคร่ครวญ"
กระบวนการ
1. ให้ผู้เข้าร่วมหลับตา รำลึกสติ รวบรวมสมาธิ และอยู่กับตัวเอง เป็นเวลาสั้นๆ
2. ลืมตาแล้วค่อยๆ เดินตามสติการรู้ของตัวเอง รู้ความรู้สึก รู้การกระทำของตัวเอง
3. นำเก้าอี้ มานั่งหันหน้าเข้าหากัน จับคู่กัน โดยเลือกคนที่เราคิดว่ารู้จักน้อยที่สุด
4. จับคู่กันก่อนและนั่งหันหน้าเข้าหากัน
5. ตกลงกัน ใครเป็น A และ B
6. ดูคลิป "เป้ อารักษ์กับการฟังที่เปลี่ยนชีวิตที่เหลือของเขา"
“การเป็นผู้ฟังที่ดี เราควรมองเห็นความรู้สึกของคนอื่น โดยใช้ใจตัวเองสัมผัส เพื่อให้มองเห็นหัวใจกันและกัน”
7. ให้ผู้เข้าร่วมหลับตาอีกครั้ง และฟังเพลง ความทรงจำ - แอม เสาวลักษณ์ และนึกถึงเรื่องราวที่เป็นความทรงจำของตนเอง
8. เมื่อเพลงจบ ให้ A เป็นคนที่เริ่มพูด เล่าเรื่องที่อยู่ในความทรงจำให้ B ฟัง B เป็นผู้รับฟัง โดยต้อง ฟังอย่างลึกซึ้ง (จับเวลา 5 นาที)
9. สลับบทบาทกัน
10. Reflection ของกิจกรรม
ครูแป้ง เป็นนักศึกษาฝึกสอน
“ทุกคนเป็นครูหมดเลย ได้เห็นว่าครูทุกท่านในการทำงานเป็นอย่างไร พอเข้าร่วมกิจกรรมก็สามารถเอาไปปรับใช้ได้ บางกิจกรรมเราอาจจะยังเข้าไม่ถึง แต่มองไปรอบๆ ก็มีความสุข ไปกับพลังงานบวกในห้อง ยิ้มไปด้วย เห็นการพยายามอยู่กับตัวเอง พอมาถึงกิจกรรมการเล่าให้เพื่อนๆ ฟัง เราก็ได้ฝึกการฟัง แล้วพอเราได้เล่าออกไปเราก็สบายใจ”
ครูชาติ
“วันนี้ที่ได้มา ก็สมัครใจมา และก็มองเห็นกิจกรรมนี้มาพอสมควร ผมไม่ได้เข้าไปในรายละเอียดมากนัก เราจะต้องไปเปลี่ยนแปลงตัวเองยังไง เพื่อเราให้พัฒนาลูกๆ ของเราได้ จึงอยากเข้ามาในวันนี้ เราก็อยากตั้งใจที่จะมาเรียนรู้ เราเคยพูดกับเพื่อนครูว่า เรามีความเป็นตัวตนของตัวเองนะ แต่ว่าเราก็พร้อมจะเรียนรู้ เราเชื่อว่าโครงการนี้เปลี่ยนนักเรียน พัฒนานักเรียนได้จริง”
ครูแนน
“สิ่งที่ได้จากกิจกรรมตั้งแต่เช้ามา คือโดยทั่วไปแล้ว การใช้ชีวิตของตัวเอง เราไม่ได้อยู่กับตัวเองมากนัก และจะใช้ชีวิตไปกับสิ่งที่มากระทบกับเรา แต่พอได้มาวันนี้เรารู้สึกว่ามันเป็นโอกาสพิเศษที่เราจะได้เข้าใจความรู้สึกตัวเอง ได้ระบายสิ่งที่มันอยู่ข้างใน”
เป้าหมาย : ผู้เข้าร่วมเข้าใจ และ ได้ฝึก "ฟังอย่างใคร่ครวญ"
กระบวนการ
1. ให้ผู้เข้าร่วมหลับตา รำลึกสติ รวบรวมสมาธิ และอยู่กับตัวเอง เป็นเวลาสั้นๆ
2. ลืมตาแล้วค่อยๆ เดินตามสติการรู้ของตัวเอง รู้ความรู้สึก รู้การกระทำของตัวเอง
3. นำเก้าอี้ มานั่งหันหน้าเข้าหากัน จับคู่กัน โดยเลือกคนที่เราคิดว่ารู้จักน้อยที่สุด
4. จับคู่กันก่อนและนั่งหันหน้าเข้าหากัน
5. ตกลงกัน ใครเป็น A และ B
6. ดูคลิป "เป้ อารักษ์กับการฟังที่เปลี่ยนชีวิตที่เหลือของเขา"
“การเป็นผู้ฟังที่ดี เราควรมองเห็นความรู้สึกของคนอื่น โดยใช้ใจตัวเองสัมผัส เพื่อให้มองเห็นหัวใจกันและกัน”
7. ให้ผู้เข้าร่วมหลับตาอีกครั้ง และฟังเพลง ความทรงจำ - แอม เสาวลักษณ์ และนึกถึงเรื่องราวที่เป็นความทรงจำของตนเอง
8. เมื่อเพลงจบ ให้ A เป็นคนที่เริ่มพูด เล่าเรื่องที่อยู่ในความทรงจำให้ B ฟัง B เป็นผู้รับฟัง โดยต้อง ฟังอย่างลึกซึ้ง (จับเวลา 5 นาที)
9. สลับบทบาทกัน
10. Reflection ของกิจกรรม
ครูแป้ง เป็นนักศึกษาฝึกสอน
“ทุกคนเป็นครูหมดเลย ได้เห็นว่าครูทุกท่านในการทำงานเป็นอย่างไร พอเข้าร่วมกิจกรรมก็สามารถเอาไปปรับใช้ได้ บางกิจกรรมเราอาจจะยังเข้าไม่ถึง แต่มองไปรอบๆ ก็มีความสุข ไปกับพลังงานบวกในห้อง ยิ้มไปด้วย เห็นการพยายามอยู่กับตัวเอง พอมาถึงกิจกรรมการเล่าให้เพื่อนๆ ฟัง เราก็ได้ฝึกการฟัง แล้วพอเราได้เล่าออกไปเราก็สบายใจ”
ครูชาติ
“วันนี้ที่ได้มา ก็สมัครใจมา และก็มองเห็นกิจกรรมนี้มาพอสมควร ผมไม่ได้เข้าไปในรายละเอียดมากนัก เราจะต้องไปเปลี่ยนแปลงตัวเองยังไง เพื่อเราให้พัฒนาลูกๆ ของเราได้ จึงอยากเข้ามาในวันนี้ เราก็อยากตั้งใจที่จะมาเรียนรู้ เราเคยพูดกับเพื่อนครูว่า เรามีความเป็นตัวตนของตัวเองนะ แต่ว่าเราก็พร้อมจะเรียนรู้ เราเชื่อว่าโครงการนี้เปลี่ยนนักเรียน พัฒนานักเรียนได้จริง”
ครูแนน
“สิ่งที่ได้จากกิจกรรมตั้งแต่เช้ามา คือโดยทั่วไปแล้ว การใช้ชีวิตของตัวเอง เราไม่ได้อยู่กับตัวเองมากนัก และจะใช้ชีวิตไปกับสิ่งที่มากระทบกับเรา แต่พอได้มาวันนี้เรารู้สึกว่ามันเป็นโอกาสพิเศษที่เราจะได้เข้าใจความรู้สึกตัวเอง ได้ระบายสิ่งที่มันอยู่ข้างใน”
13.20 - 15.00 น.
กิจกรรมที่ 7 : ต่างความเห็น เห็นความต่าง
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ฝึก การฟังอย่างลึกซึ้ง โดยนอกเหนือจากการฟังคำพูด ต้องอ่านความรู้สึกของผู้พูดจากสีหน้า และท่าทาง
กระบวนการ :
1. จับกลุ่ม 6 คน และแจกกระดาษให้คนละแผ่น
2. เขียนสิ่งที่ตัวเองหลงใหล (บรรยายให้ละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำได้) โดยไม่ต้องเขียนชื่อกำกับ และให้หัวหน้ากลุ่ม
3. หัวหน้ากลุ่มเป็นผู้สุ่มกระดาษใบหนึ่งออกมา ผู้ร่วมวงทุกคนต้องพูด และแสดงท่าทีว่า สิ่งที่อยู่บนกระดาษเป็นสิ่งที่ตนเขียน
4. รอบที่ 2 หัวหน้ากลุ่มใช้คำถามนำ และให้คนในวงทุกคนตอบคำถาม
5. ตกลงความเห็นว่า ใครคือเจ้าของกระดาษ (ให้เหตุผลว่าเพราะอะไร สังเกตจากเรื่องอะไร)
เมื่อจบ 2 รอบ จะเป็นการทำกิจกรรมกลุ่มใหญ่
1. ให้แต่ละกลุ่มเลือกคนที่คิดว่าแสดงได้แนบเนียนที่สุด และส่งกระดาษให้กับวิทยากร
2. ทำกระบวนการเช่นเดิม ในกลุ่มย่อย
3. ให้ผู้เข้าร่วม เป็นคนตั้งคำถาม และเป็นคนทายว่า ใครคือเจ้าของกระดาษ และเพราะอะไรถึงคิดเช่นนั้น
4. Reflection กิจกรรม
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ฝึก การฟังอย่างลึกซึ้ง โดยนอกเหนือจากการฟังคำพูด ต้องอ่านความรู้สึกของผู้พูดจากสีหน้า และท่าทาง
กระบวนการ :
1. จับกลุ่ม 6 คน และแจกกระดาษให้คนละแผ่น
2. เขียนสิ่งที่ตัวเองหลงใหล (บรรยายให้ละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำได้) โดยไม่ต้องเขียนชื่อกำกับ และให้หัวหน้ากลุ่ม
3. หัวหน้ากลุ่มเป็นผู้สุ่มกระดาษใบหนึ่งออกมา ผู้ร่วมวงทุกคนต้องพูด และแสดงท่าทีว่า สิ่งที่อยู่บนกระดาษเป็นสิ่งที่ตนเขียน
4. รอบที่ 2 หัวหน้ากลุ่มใช้คำถามนำ และให้คนในวงทุกคนตอบคำถาม
5. ตกลงความเห็นว่า ใครคือเจ้าของกระดาษ (ให้เหตุผลว่าเพราะอะไร สังเกตจากเรื่องอะไร)
เมื่อจบ 2 รอบ จะเป็นการทำกิจกรรมกลุ่มใหญ่
1. ให้แต่ละกลุ่มเลือกคนที่คิดว่าแสดงได้แนบเนียนที่สุด และส่งกระดาษให้กับวิทยากร
2. ทำกระบวนการเช่นเดิม ในกลุ่มย่อย
3. ให้ผู้เข้าร่วม เป็นคนตั้งคำถาม และเป็นคนทายว่า ใครคือเจ้าของกระดาษ และเพราะอะไรถึงคิดเช่นนั้น
4. Reflection กิจกรรม
09.20 - 10.10 น.
กิจกรรมที่ 1 : เกมบรึ๋ย
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ผ่อนคลาย และเตรียมตัวสำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในวันนี้
กระบวนการ :
1. นั่งเป็นกลุ่ม 5-6 คน
2. วิทยากรเป็นผู้นำเกม โดยเริ่มนับไปทีละคน 1 2 3 4
3. เมื่อนับถึงคนที่ 5 ให้พูดว่า บรึ๋ย
4. วิทยากรจะพูดหัวข้อ category หนึ่ง และ คนต่อมา (ที่จะต้องนับ 6) จะต้องพูดสิ่งที่อยู่ใน category นั้น
5. โดยคนถัดไปก็จะต้องพูดสิ่งใน category นั้น โดยห้ามซ้ำกับคนก่อนหน้า
6. คนที่พูดช้า พูดผิด พูดซ้ำ จะต้องโดนจับออกไปข้างหน้า
เป้าหมาย : เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ผ่อนคลาย และเตรียมตัวสำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในวันนี้
กระบวนการ :
1. นั่งเป็นกลุ่ม 5-6 คน
2. วิทยากรเป็นผู้นำเกม โดยเริ่มนับไปทีละคน 1 2 3 4
3. เมื่อนับถึงคนที่ 5 ให้พูดว่า บรึ๋ย
4. วิทยากรจะพูดหัวข้อ category หนึ่ง และ คนต่อมา (ที่จะต้องนับ 6) จะต้องพูดสิ่งที่อยู่ใน category นั้น
5. โดยคนถัดไปก็จะต้องพูดสิ่งใน category นั้น โดยห้ามซ้ำกับคนก่อนหน้า
6. คนที่พูดช้า พูดผิด พูดซ้ำ จะต้องโดนจับออกไปข้างหน้า