โครงการพัฒนาเยาวชนในชุมชนท้องถิ่น 4 ภาค ระยะที่ 3 : ขับเคลื่อนกลไกเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้วยหลักการจัดการความรู้และกระบวนการวิจัย
โครงการพัฒนาเยาวชนในชุมชนท้องถิ่น 4 ภาค ระยะที่ 3 : ขับเคลื่อนกลไกเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้วยหลักการจัดการความรู้และกระบวนการวิจัย
กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ
การเพิ่มสมรรถนะนักถักทอชุมชน : การจัดการความรู้และการเป็นคุณอำนวย
ความเป็นมา วัตถุประสงค์

การเพิ่มสมรรถนะนักถักทอชุมชน : การจัดการความรู้และการเป็นคุณอำนวย

วันที่ 20 – 22 มกราคม 2563 ณ สวนป่ารีสอร์ท อ.เมือง จ.สุรินทร์

วัตถุประสงค์

1. สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการจัดการความรู้เบื้องต้น

2. ฝึกทักษะการเป็น “คุณอำนวยการเรียนรู้ (Learning facilitator)” เช่น การฟัง การถาม การจับประเด็น สะท้อนการเรียนรู้

3. ทดลองแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการทำงานแบบง่าย ๆ

­

กลุ่มเป้าหมาย 

  • นักถักทอชุมชนเพื่อพัฒนาเยาวชนนอกระบบการศึกษา 25 อปท. จ.สุรินทร์ จานวน 79 คน

­

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • พี่เลี้ยงหรือนักถักทอชุมชน 25 อปท. จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 79 คน สามารถนำความรู้และทักษะการจัดการความรู้และการเป็นคุณอำนวยไปใช้ในการพัฒนาเยาวชนนอกระบบการศึกษา

รายชื่อทีมวิทยากร

1. คุณวรรณา เลิศวิจิตรจรัส (อ้อ)

2. คุณลัดดา วิไลศรี (เปิ้ล)

3. คุณนันท์นภัส วชิระสมบูรณ์ (เจน)

4. คุณศศิตา ปิติพรเทพิน (ปุ้ย)

­

Case study ตัวแทน 3 พื้นที่ได้แก่ 

1.นางสมใจ ณ เชียงใหม่ เลขานุการนายกองค์การ อบต.หนองอียอ 

2.นายวีรพล หมื่นราม แกนนำเยาวชน อบต.หนองอียอ 

3.นางนันทนะ บุญสอน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต.สลักได 

4.นายสาโรจน์ เที่ยงตรง นักพัฒนาชุมชน อบต.สลักได 

5.นายหาญพล เที่ยงตรง แกนนำเยาวชน อบต.สลักได 

6.สมเกียรติ สาระ หัวหน้าสำนักงานปลัด อบต.หนองสนิท 

7.นายยิ่งยง คำฝอย แกนนำเยาวชน อบต.หนองสนิท

Case study จากโครงการพัฒนาเยาวชนในชุมชนท้องถิ่น 4 ภาค ระยะที่ 3 : ขับเคลื่อนกลไกเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนด้วยหลักการจัดการความรู้และกระบวนการวิจัย โครงการความร่วมมือระหว่างมูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และกรมการปกครองส่วนท้องถิ่น

กำหนดการและรายงานผล
20
มกราคม
2020
กำหนดการของวันที่ 20 มกราคม 2020
08.30 - 09.00 น.
ลงทะเบียน
09.00 - 10.00 น.
เปิดเวที
ผศ.ดร.ประวัติ สมเป็น อาจารย์ประจำภาควิชาเกษตรและสิ่งแวดล้อม ม.ราชภัฏสุรินทร์ , คุณเพียง นิจิตตะโล ผู้อำนวยการกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อบจ.สุรินทร์ และคุณสุทิน ศิรินคร ผู้จัดการโครงการมูลนิธิสยามกัมมาจล ร่วมกล่าวเปิดเวทีอย่างเป็นทางการ
10.00 - 10.30 น.
พักเบรก
10.30 - 12.00 น.
เรียนรู้การจัดการความรู้จากภารกิจ “ช่วยหมูป่า”
12.00 - 13.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 13.30 น.
กิจกรรมวาดรูปเหมือน
- เพื่อฝึกทักษะการสื่อสาร
13.30 - 14.30 น.
ฝึกฟัง จับประเด็น ชื่นชม
14.30 - 15.00 น.
พักเบรก
15.00 - 16.30 น.
ฝึกเล่า และถาม
21
มกราคม
2020
กำหนดการของวันที่ 21 มกราคม 2020
09.00 - 09.30 น.
กิจกรรมการฝึกเล่า (ต่อ)

ให้รางวัลเรื่องเล่า "ครอบครัวของฉันสุดเจ๋ง"
09.30 - 10.00 น.
เรียนรู้การถอดบทเรียน Case study

วิทยากรทดลองถอดบทเรียนเยาวชนให้ดูเป็นตัวอย่าง
Case study แกนนำเยาวชน ได้แก่ นายวีรพล หมื่นราม แกนนำเยาวชน อบต.หนองอียอ , นายหาญพล เที่ยงตรง แกนนำเยาวชน อบต.สลักได ,นายยิ่งยง คำฝอย แกนนำเยาวชน อบต.หนองสนิท
10.00 - 10.30 น.
พักเบรก
10.30 - 12.00 น.
(ต่อ) เรียนรู้การถอดบทเรียน Case study (ฝึกถาม จับประเด็น บันทึก) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
"นักถักทอชุมชนสุรินทร์" ฝึกถอดบทเรียน Case study ตัวแทน 3 พื้นที่ได้แก่ 1.นางสมใจ ณ เชียงใหม่ เลขานุการนายกองค์การ อบต.หนองอียอ 2.นายวีรพล หมื่นราม แกนนำเยาวชน อบต.หนองอียอ 3.นางนันทนะ บุญสอน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต.สลักได 4.นายสาโรจน์ เที่ยงตรง นักพัฒนาชุมชน อบต.สลักได 5.นายหาญพล เที่ยงตรง แกนนำเยาวชน อบต.สลักได 6.สมเกียรติ สาระ หัวหน้าสำนักงานปลัด อบต.หนองสนิท 7.นายยิ่งยง คำฝอย แกนนำเยาวชน อบต.หนองสนิท เพื่อให้นักถักทอสุรินทร์
เพื่อฝึกเป็นคุณอำนวยการเรียนรู้ (Learning facilitator)” ตาม"วงจรการเรียนรู้ / การจัดการความรู้" 1.ลงมือทำและเรียนรู้ 2.บันทึกและจัดเก็บ 3.เผยแพร่ แบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4.นำไปปรับใช้ เชื่อมโยงกับสถานการณ์และตัวเอง
12.00 - 13.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 13.30 น.
กิจกรรมเตรียมความพร้อม
13.30 - 14.30 น.
(ต่อ) ฝึกถาม จับประเด็น บันทึก
14.30 - 00.00 น.
พักเบรก
15.00 - 16.30 น.
ตัวอย่างบทเรียนที่ดี
22
มกราคม
2020
กำหนดการของวันที่ 22 มกราคม 2020
09.00 - 09.30 น.
กิจกรรมทบทวนการเรียนรู้
- สิ่งที่ได้เรียนรู้จากเมื่อวาน 1 เรื่องสำคัญ
09.30 - 10.00 น.
วงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ประสบการณ์และบทเรียนการทำงานเยาวชน”
10.00 - 10.30 น.
พักเบรก
10.30 - 12.00 น.
สะท้อนบทเรียนที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

คำถามสะท้อนการเรียนรู้
1. ความรู้หรือทักษะอะไรที่เราทำได้ดี
2. ความรู้หรือทักษะอะไร ที่เราต้องการพัฒน่าเพิ่ม
3. สิ่งที่เราประทับใจ และอยากนำไปใช้ในงาน ใช้อย่างไร
4. บทเรียนสำคัญของการเรียนรู้
12.00 - 13.00 น.
ปิด
พักรับประทานอาหารกลางวัน
"ขออภัย"
ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้
ภาพกิจกรรม
วิดีโอแนบ
ไฟล์แนบ